1.ข้อใดไม่ใช่ระบบปฏิบัติการที่นำมาใช้บนอุปกรณ์พกพา
ประเภท Smartphone.
1. Ubumtu 2. Iphone os
3. Android 4. Symbian
เฉลยข้อ 1
2.ไฟล์ประเภทใดในข้อต่อไปนี้เก็บข้อมูลในลักษณะตัวอักษร.
1. ไฟล์เพลง MP 3 (mp 3)
2. ไฟล์รูปประเภท JPEG (jpeg)
3. ไฟล์แสดงผลหน้าเว็บ (html)
4. ไฟล์วีดีโอประเภท Movie (movie)
เฉลยข้อ 3
3.ลิขสิทธิ์โปรแกรมประเภทรหัสเปิด(Open Source)อนุญาต
ให้ผู้ใช้ทำอะไรได้บ้าง.
ก. นำโปรแกรมมาใช้งานโดยไม่ต้องเสียค่าลิขสิทธิ์
ข. ทดลองใช้โปรแกรมก่อนถ้าพอใจจึงจ่ายค่าลิขสิทธิ์
ค. แก้ไขปรับปรุงโปรแกรมเองได้1. ข้อ ก กับ ข้อ ค 2. ข้อ ข กับ ข้อ ค
3. ข้อ ข อย่างเดียว 4. ข้อ ก อย่างเดียว
เฉลยข้อ 4
4.ระบบกระดานสนทนาหรือเว็บบอร์ดแห่งหนึ่งมีความต้องการดังนี้ก. ต้องให้ผู้ใช้สามารถตั้งกระทู้โต้ตอบกันได้โดยผู้ใช้
ต้องแสดงตัวตน(ล็อกอิน)เพื่อเข้าระบบก่อน
ข. ผู้ใช้สามารถตั้งกระทู้หรือเข้าไปตอบกระทู้ที่ตั้งไว้แล้วได้
ค. ระบบจะบันทึกชื่อผู้ตั้งและผู้ตอบไว้ด้วย
ในการออกแบบฐานข้อมูลดังกล่าวข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง.
1. ต้องสร้างตารางผู้ใช้ ตารางกระทู้และตารางคำตอบ
2. ไม่ต้องสร้างตารางผู้ใช้เนื่องจากสามารถบันทึกชื่อ
ผู้ใช้ในตารางกระทู้และตารางคำตอบได้เลย
3. ต้องสร้างตารางผู้ใช้และตารางกระทู้ส่วนคำตอบจะอยู่
ในตารางกระทู้อยู่แล้ว
4. ไม่ต้องสร้างตารางกระทู้เพราะสามารถบันทึกกระทู้ที่ผู้ใช้
ตั้งในตารางผู้ใช้ได้เลย
เฉลยข้อ 4
5.อุปกรณ์ข้อใดคือหน่วยประเมินผลกลางของคอมพิวเตอร์.เฉลย CPU
6.ข้อใดเป้นการปฏิบัติที่ถูกต้องตามหลักวิชาการเมื่อค้นคว้า
หาข้อมูลจากอินเทอร์เนตมาทำรายงาน.
1. คัดลอกเนื้อหาจากเว็บไซต์
2. ใช้เนื้อหาจากกระดานสนทนา(Web board)มาใส่ในรายงาน
3. นำรูปภาพจากเว็บไซต์มาใส่ในรายงาน
4. อ้างอิงชื่อผู้เขียนบทความ
เฉลยข้อ 4
5.ห้องสมุดแห่งหนึ่งต้องการพัมนาระบบยืมหนังสือโดยสามารถ
บันทึกข้อมูลการยืมหนังสือลงบนบัตรอิเลคโทรนิกส์โดยไม่ต้อง
เขียนด้วยมือระบบนี้ควรใช้เทคโนโลยีในข้อใด.
1. Smart Card 2. Fingerprint
3. Barcode 4. WiFi
เฉลยข้อ 3
6.ผู้ประกอบอาชีพเป็นผู้พัฒนาเว็บไซต์ต้องเชี่ยวชาญความรู้
ด้านใดบ้างจากตัวเลือกต่อไปนี้.
ก. ฮาร์แวร์คอมพิวเตอร์ ข. ระบบปฎิบัติการ
ค. เว็บเซิร์ฟเวอร์ ง. HTML
จ. ระบบฐานข้อมูล ฉ. ภาษาจาวา(Java)
1. ข้อ ก และ ค 2. ข้อ ข และ จ
3. ข้อ ค และ ง 4. ข้อ ค และ ฉ
เฉลยข้อ 3
7.ข้อใดเป็นเทคโนโลยีการเชื่อมต่อข้อมูลไร้สายทั้งหมด.
1. Wi-Fi , IP 2. Wi-Fi ,Bluetooth
3. 3G ADSL 4. 3G Ethernet
เฉลยข้อ 2
8.ข้อใดไม่ใช่ข้อเสียของการละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์.
1. การทำผิดกฏหมายลิขสิทธิ์มีความผิดทางอาญา
2. เป็นช่องทางหนึ่งในการระบาดของไวรัสคอมพิวเตอร์
3. ผู้ใช้จะไม่ได้รับการบริการจากผู้พัมนาถ้าหากมีปัญหาการใช้งาน
4. ทำให้ผู้พัมนาซอฟแวร์ไม่มีรายได้เพื่อประกอบการและพัฒนาต่อไปได้
เฉลยข้อ 2
9.ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้องที่สุด.
1. การบันทึกข้อมูลลงแผ่นดีวีดีใช้เทคโนโลยีแบบแม่เหล็ก
2. หมายเลขไอพีเป็นหมายเลขที่ใช้กำกับ Network Interce Card
3. หน่วยความจำสำรองเป็นหน่วยความจำที่มีคุณลักษณะแบบ Volntile
4. รหัส ACIIและEBCIDICเป็นการวางรหัสตัวอักษรที่ใช้ขนาด 8 บิด
เฉลยข้อ 3
10. ถ้าจะกำหนดความสัมพันธ์ข้อมูลของร้านอาหารแห่งหนึ่งระหว่างรายการอาหารกับลูกค้า ควรจะกำหนดความสัมพันธ์ในรูปแบบใด
1. One to One
2. One to Many
3. Many to Many
4. Many to One
เฉลยข้อ 3
วันพุธที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2557
คำสั่ง SQL DISTINCT
SQL DISTINCT
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการระบุเงื่อนไขการเลือกข้อมูลในตาราง (Table) โดยทำการเลือกข้อมูลที่ซ้ำกันมาเพียงแค่ Record เดียว
Database : MySQL,Microsoft Access,SQL Server,Oracle
Syntax
Table : customer
Sample1 การเลือกข้อมูล CountryCode ที่ไม่ซ้ำกัน
Output
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการระบุเงื่อนไขการเลือกข้อมูลในตาราง (Table) โดยทำการเลือกข้อมูลที่ซ้ำกันมาเพียงแค่ Record เดียว
Database : MySQL,Microsoft Access,SQL Server,Oracle
Syntax
SELECT DISTINCT Column1,Column2,Column3,... FROM [Table-Name]
Table : customer
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
EN
| 2000000 | 800000 |
C003
| Jame Born | jame.born@thaicreate.com |
US
| 3000000 | 600000 |
C004
| Chalee Angel | chalee.angel@thaicreate.com |
US
| 4000000 | 100000 |
Sample1 การเลือกข้อมูล CountryCode ที่ไม่ซ้ำกัน
SELECT DISTINCT CountryCode FROM customer
Output
CountryCode
|
---|
TH
|
EN
|
US
|
คำสั่ง SQL ORDER BY
SQL ORDER BY
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการระบุเงื่อนไขการเลือกข้อมูลในตาราง (Table) โดยจัดเรียงข้อมูลตามต้องการ
Database : MySQL,Microsoft Access,SQL Server,Oracle
Syntax
Table : customer
Sample1 การเลือกข้อมูลโดยทำการจัดเรียงจาก CustomerID น้อยไปหามาก หรือ มากไปหาน้อย
Output
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการระบุเงื่อนไขการเลือกข้อมูลในตาราง (Table) โดยจัดเรียงข้อมูลตามต้องการ
Database : MySQL,Microsoft Access,SQL Server,Oracle
Syntax
SELECT Culumn1,Culumn2,Culumn3,... FROM [Table-Name] ORDER BY [Field] [ASC/DESC],[Field] [ASC/DESC],...
ASC = น้อยไปหามาก
DESC = มากไปหาน้อย
ASC = น้อยไปหามาก
DESC = มากไปหาน้อย
Table : customer
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
EN
| 2000000 | 800000 |
C003
| Jame Born | jame.born@thaicreate.com |
US
| 3000000 | 600000 |
C004
| Chalee Angel | chalee.angel@thaicreate.com |
US
| 4000000 | 100000 |
Sample1 การเลือกข้อมูลโดยทำการจัดเรียงจาก CustomerID น้อยไปหามาก หรือ มากไปหาน้อย
SELECT * FROM customer ORDER BY CustomerID ASC
หรือ
SELECT * FROM customer ORDER BY CustomerID DESC
หรือ
SELECT * FROM customer ORDER BY CountryCode DESC,CustomerID ASC
หรือ
SELECT * FROM customer ORDER BY CustomerID DESC
หรือ
SELECT * FROM customer ORDER BY CountryCode DESC,CustomerID ASC
Output
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
EN
| 2000000 | 800000 |
C003
| Jame Born | jame.smith@thaicreate.com |
US
| 3000000 | 600000 |
C004
| Chalee Angel | chalee.angel@thaicreate.com |
US
| 4000000 | 100000 |
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|
C004
| Chalee Angel | chalee.angel@thaicreate.com |
US
| 4000000 | 100000 |
C003
| Jame Born | jame.smith@thaicreate.com |
US
| 3000000 | 600000 |
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
EN
| 2000000 | 800000 |
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|
C003
| Jame Born | jame.smith@thaicreate.com |
US
| 3000000 | 600000 |
C004
| Chalee Angel | chalee.angel@thaicreate.com |
US
| 4000000 | 100000 |
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
EN
| 2000000 | 800000 |
คำสั่ง SQL ALIAS
SQL ALIAS
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการระบุเงื่อนไขการเลือกข้อมูลในตาราง (Table) โดย ALIAS คือการสร้างชื่อจำลองขึ้นมาใหม่ โดยสามารถจำลองชื่อได้ทั้งชื่อ Field และชื่อ Table
Database : MySQL
Syntax
Table : customer
Sample1 การเลือกข้อมูลตาราง customer โดยทำการ Alias เปลี่ยนชื่อฟิวด์ขึ้นมาใหม่
Output
Sample2 การเลือกข้อมูลตาราง customer,audit โดยทำการ Alias เปลี่ยนชื่อ Table เพื่อง่านต่อการเรียกใช้งาน
Output
Sample3 การเลือกข้อมูลตาราง customer โดยทำการ Alias เปลี่ยนชื่อ Table เพื่อง่านต่อการเรียกใช้งาน
Output
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการระบุเงื่อนไขการเลือกข้อมูลในตาราง (Table) โดย ALIAS คือการสร้างชื่อจำลองขึ้นมาใหม่ โดยสามารถจำลองชื่อได้ทั้งชื่อ Field และชื่อ Table
Database : MySQL
Syntax
SELECT Column1 AS Alias1,Column2 AS Alias2,Column3 AS Alias3,... FROM [Table-Name1] Table Alias
Table : customer
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
EN
| 2000000 | 800000 |
C003
| Jame Born | jame.born@thaicreate.com |
US
| 3000000 | 600000 |
C004
| Chalee Angel | chalee.angel@thaicreate.com |
US
| 4000000 | 100000 |
Sample1 การเลือกข้อมูลตาราง customer โดยทำการ Alias เปลี่ยนชื่อฟิวด์ขึ้นมาใหม่
SELECT CustomerID AS CusID,Name AS CusName,Email AS CusEmail FROM customer
Output
CusID
|
CusName
|
CusEmail
|
---|---|---|
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
C003
| Jame Born | jame.smith@thaicreate.com |
C004
| Chalee Angel | chalee.angel@thaicreate.com |
Sample2 การเลือกข้อมูลตาราง customer,audit โดยทำการ Alias เปลี่ยนชื่อ Table เพื่อง่านต่อการเรียกใช้งาน
SELECT X.*,Y.* FROM customer X
LEFT JOIN audit Y ON X.CustomerID = Y.CustomerID
WHERE X.CustomerID = 'C001'
LEFT JOIN audit Y ON X.CustomerID = Y.CustomerID
WHERE X.CustomerID = 'C001'
Output
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
AuditID
|
CustomerID
|
Date
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
1
|
C001
|
2008-08-01
| 100000 |
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
2
|
C001
|
2008-08-05
| 200000 |
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
3
|
C001
|
2008-08-10
| 300000 |
Sample3 การเลือกข้อมูลตาราง customer โดยทำการ Alias เปลี่ยนชื่อ Table เพื่อง่านต่อการเรียกใช้งาน
SELECT X.CustomerID,X.Name FROM customer X
Output
CusID
|
CusName
|
---|---|
C001
| Win Weerachai |
C002
| John Smith |
C003
| Jame Born |
C004
| Chalee Angel |
คำสั่ง SQL SELECT
SQL SELECT
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการเรียกดูข้อมูลในตาราง (Table) คำสั่ง SQL SELECT สามารถเรียกได้ทั้งตาราง หรือว่า สามารถระบุฟิวด์ที่ต้องการเรียกดูข้อมูลได้
Database : MySQL,Microsoft Access,SQL Server,Oracle
Syntax
Table : customer
Sample1 การเลือกข้อมูลที่ระบุฟิวด์
Output
Sample2 การเลือกข้อมูลทั้งหมดของ Table
Output
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการเรียกดูข้อมูลในตาราง (Table) คำสั่ง SQL SELECT สามารถเรียกได้ทั้งตาราง หรือว่า สามารถระบุฟิวด์ที่ต้องการเรียกดูข้อมูลได้
Database : MySQL,Microsoft Access,SQL Server,Oracle
Syntax
SELECT Column1, Column2, Column3,... FROM [Table-Name]
Table : customer
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
EN
| 2000000 | 800000 |
C003
| Jame Born | jame.born@thaicreate.com |
US
| 3000000 | 600000 |
C004
| Chalee Angel | chalee.angel@thaicreate.com |
US
| 4000000 | 100000 |
Sample1 การเลือกข้อมูลที่ระบุฟิวด์
SELECT CustomerID, Name, Email FROM customer
Output
CustomerID
|
Name
|
Email
|
---|---|---|
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
C003
| Jame Born | jame.born@thaicreate.com |
C004
| Chalee Angel | chalee.angel@thaicreate.com |
Sample2 การเลือกข้อมูลทั้งหมดของ Table
SELECT * FROM customer
Output
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
EN
| 2000000 | 800000 |
C003
| Jame Born | jame.smith@thaicreate.com |
US
| 3000000 | 600000 |
C004
| Chalee Angel | chalee.angel@thaicreate.com |
US
| 4000000 | 100000 |
คำสั่ง SQL LEFT JOIN
SQL LEFT JOIN
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการระบุเงื่อนไขการเลือกข้อมูลในตาราง (Table) โดยเงื่อนไขการ LEFT JOIN จะทำการเลือกข้อมูลหลักและข้อมูลเชื่อมโยงที่สัมพันธ์กัน โดยจะทำการอิงจาก Table แรกสำคัญก่อน ถ้าไม่มีข้อมูลใน Table แรก ข้อมูล Table สองจะไม่ถูกสนใจและจะสนใจข้อมูลแค่ Table แรกเท่านั้น
Database : MySQL,Microsoft Access,SQL Server,Oracle
Syntax
Table : customer
Table : audit
Sample1 การเลือกข้อมูลแบบ LEFT JOIN ตาราง customer และ audit
Output
Sample2 การเลือกข้อมูลแบบ LEFT JOIN ตาราง customer และ audit และ CustomerID = C001
Output
Sample3 การเลือกข้อมูลแบบ LEFT JOIN ตาราง customer และ audit และ CustomerID = C001 และแสดงผลเฉพาะตาราง audit
Output
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการระบุเงื่อนไขการเลือกข้อมูลในตาราง (Table) โดยเงื่อนไขการ LEFT JOIN จะทำการเลือกข้อมูลหลักและข้อมูลเชื่อมโยงที่สัมพันธ์กัน โดยจะทำการอิงจาก Table แรกสำคัญก่อน ถ้าไม่มีข้อมูลใน Table แรก ข้อมูล Table สองจะไม่ถูกสนใจและจะสนใจข้อมูลแค่ Table แรกเท่านั้น
Database : MySQL,Microsoft Access,SQL Server,Oracle
Syntax
SELECT [Table-Name1].Column1, [Table-Name2].Column1,... FROM [Table-Name1]
LEFT JOIN [Table-Name2] ON [Table-Name1].Column = [Table-Name2].Column
LEFT JOIN [Table-Name2] ON [Table-Name1].Column = [Table-Name2].Column
Table : customer
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
EN
| 2000000 | 800000 |
C003
| Jame Born | jame.born@thaicreate.com |
US
| 3000000 | 600000 |
C004
| Chalee Angel | chalee.angel@thaicreate.com |
US
| 4000000 | 100000 |
C006
| Superman Return | supermain.return@thaicreate.com |
US
| 2000000 | 0 |
Table : audit
AuditID
|
CustomerID
|
Date
|
Used
|
---|---|---|---|
1
|
C001
|
2008-07-01
| 100000 |
2
|
C001
|
2008-07-05
| 200000 |
3
|
C001
|
2008-07-10
| 300000 |
4
|
C002
|
2008-07-02
| 400000 |
5
|
C002
|
2008-07-07
| 100000 |
6
|
C002
|
2008-07-15
| 300000 |
7
|
C003
|
2008-07-20
| 400000 |
8
|
C003
|
2008-07-25
| 200000 |
9
|
C004
|
2008-07-04
| 100000 |
10
|
C005
|
2008-07-04
| 200000 |
Sample1 การเลือกข้อมูลแบบ LEFT JOIN ตาราง customer และ audit
SELECT customer.*,audit.* FROM customer
LEFT JOIN audit ON customer.CustomerID = audit.CustomerID
LEFT JOIN audit ON customer.CustomerID = audit.CustomerID
Output
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
AuditID
|
CustomerID
|
Date
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
1
|
C001
|
2008-08-01
| 100000 |
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
2
|
C001
|
2008-08-05
| 200000 |
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
3
|
C001
|
2008-08-10
| 300000 |
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
EN
| 2000000 | 800000 |
4
|
C002
|
2008-08-02
| 400000 |
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
EN
| 2000000 | 800000 |
5
|
C002
|
2008-08-07
| 100000 |
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
EN
| 2000000 | 800000 |
6
|
C002
|
2008-08-15
| 300000 |
C003
| Jame Born | jame.smith@thaicreate.com |
US
| 3000000 | 600000 |
7
|
C003
|
2008-08-20
| 400000 |
C003
| Jame Born | jame.smith@thaicreate.com |
US
| 3000000 | 600000 |
8
|
C003
|
2008-08-25
| 200000 |
C004
| Chalee Angel | chalee.angel@thaicreate.com |
US
| 4000000 | 100000 |
9
|
C004
|
2008-07-04
| 100000 |
C006
| Superman Return | supermain.return@thaicreate.com |
US
| 2000000 | 0 |
NULL
|
NULL
|
NULL
|
NULL
|
Sample2 การเลือกข้อมูลแบบ LEFT JOIN ตาราง customer และ audit และ CustomerID = C001
SELECT customer.*,audit.* FROM customer
LEFT JOIN audit ON customer.CustomerID = audit.CustomerID
WHERE customer.CustomerID = 'C001'
LEFT JOIN audit ON customer.CustomerID = audit.CustomerID
WHERE customer.CustomerID = 'C001'
Output
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
AuditID
|
CustomerID
|
Date
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
1
|
C001
|
2008-08-01
| 100000 |
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
2
|
C001
|
2008-08-05
| 200000 |
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
3
|
C001
|
2008-08-10
| 300000 |
Sample3 การเลือกข้อมูลแบบ LEFT JOIN ตาราง customer และ audit และ CustomerID = C001 และแสดงผลเฉพาะตาราง audit
SELECT audit.* FROM customer
LEFT JOIN audit ON customer.CustomerID = audit.CustomerID
WHERE customer.CustomerID = 'C001'
LEFT JOIN audit ON customer.CustomerID = audit.CustomerID
WHERE customer.CustomerID = 'C001'
Output
AuditID
|
CustomerID
|
Date
|
Used
|
---|---|---|---|
1
|
C001
|
2008-08-01
| 100000 |
2
|
C001
|
2008-08-05
| 200000 |
3
|
C001
|
2008-08-10
| 300000 |
คำสั่ง SQL OUTER JOIN
SQL OUTER JOIN
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการระบุเงื่อนไขการเลือกข้อมูลในตาราง (Table) โดยเงื่อนไขการ OUTER JOIN จะทำการเลือกข้อมูลหลักและข้อมูลเชื่อมโยงที่สัมพันธ์กัน โดยจะทำการอิงจาก Table แรกและ Table สอง ถ้าไม่มีข้อมูลใน Table แรก และ Table สองที่เชื่อมโยงกัน ข้อมูล Table แรกและ Table สอง จะไม่ถูกสนใจ
Database : Microsoft Access,SQL Server,Oracle
Syntax
Table : customer
Table : audit
Sample1 การเลือกข้อมูลแบบเชื่อมตาราง customer และ audit
Output
Sample2 การเลือกข้อมูลแบบเชื่อมตาราง customer และ audit และ CustomerID = C001
Output
Sample3 การเลือกข้อมูลแบบเชื่อมตาราง customer และ audit และ CustomerID = C001 และแสดงผลเฉพาะตาราง audit
Output
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการระบุเงื่อนไขการเลือกข้อมูลในตาราง (Table) โดยเงื่อนไขการ OUTER JOIN จะทำการเลือกข้อมูลหลักและข้อมูลเชื่อมโยงที่สัมพันธ์กัน โดยจะทำการอิงจาก Table แรกและ Table สอง ถ้าไม่มีข้อมูลใน Table แรก และ Table สองที่เชื่อมโยงกัน ข้อมูล Table แรกและ Table สอง จะไม่ถูกสนใจ
Database : Microsoft Access,SQL Server,Oracle
Syntax
SELECT [Table-Name1].Column1, [Table-Name2].Column1,... FROM [Table-Name1],[Table-Name2]
WHERE [Table-Name1].Column (+)= [Table-Name2].Column
WHERE [Table-Name1].Column (+)= [Table-Name2].Column
Table : customer
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
EN
| 2000000 | 800000 |
C003
| Jame Born | jame.born@thaicreate.com |
US
| 3000000 | 600000 |
C004
| Chalee Angel | chalee.angel@thaicreate.com |
US
| 4000000 | 100000 |
C006
| Superman Return | supermain.return@thaicreate.com |
US
| 2000000 | 0 |
Table : audit
AuditID
|
CustomerID
|
Date
|
Used
|
---|---|---|---|
1
|
C001
|
2008-07-01
| 100000 |
2
|
C001
|
2008-07-05
| 200000 |
3
|
C001
|
2008-07-10
| 300000 |
4
|
C002
|
2008-07-02
| 400000 |
5
|
C002
|
2008-07-07
| 100000 |
6
|
C002
|
2008-07-15
| 300000 |
7
|
C003
|
2008-07-20
| 400000 |
8
|
C003
|
2008-07-25
| 200000 |
9
|
C004
|
2008-07-04
| 100000 |
10
|
C005
|
2008-07-04
| 200000 |
Sample1 การเลือกข้อมูลแบบเชื่อมตาราง customer และ audit
SELECT customer.*,audit.* FROM customer,audit
WHERE customer.CustomerID (+)= audit.CustomerID
WHERE customer.CustomerID (+)= audit.CustomerID
Output
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
AuditID
|
CustomerID
|
Date
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
1
|
C001
|
2008-08-01
| 100000 |
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
2
|
C001
|
2008-08-05
| 200000 |
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
3
|
C001
|
2008-08-10
| 300000 |
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
EN
| 2000000 | 800000 |
4
|
C002
|
2008-08-02
| 400000 |
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
EN
| 2000000 | 800000 |
5
|
C002
|
2008-08-07
| 100000 |
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
EN
| 2000000 | 800000 |
6
|
C002
|
2008-08-15
| 300000 |
C003
| Jame Born | jame.smith@thaicreate.com |
US
| 3000000 | 600000 |
7
|
C003
|
2008-08-20
| 400000 |
C003
| Jame Born | jame.smith@thaicreate.com |
US
| 3000000 | 600000 |
8
|
C003
|
2008-08-25
| 200000 |
C004
| Chalee Angel | chalee.angel@thaicreate.com |
US
| 4000000 | 100000 |
9
|
C004
|
2008-07-04
| 100000 |
Sample2 การเลือกข้อมูลแบบเชื่อมตาราง customer และ audit และ CustomerID = C001
SELECT customer.*,audit.* FROM customer,audit
WHERE customer.CustomerID (+)= audit.CustomerID
AND customer.CustomerID (+)= 'C001'
WHERE customer.CustomerID (+)= audit.CustomerID
AND customer.CustomerID (+)= 'C001'
Output
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
AuditID
|
CustomerID
|
Date
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
1
|
C001
|
2008-08-01
| 100000 |
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
2
|
C001
|
2008-08-05
| 200000 |
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
3
|
C001
|
2008-08-10
| 300000 |
Sample3 การเลือกข้อมูลแบบเชื่อมตาราง customer และ audit และ CustomerID = C001 และแสดงผลเฉพาะตาราง audit
SELECT audit.* FROM customer,audit
WHERE customer.CustomerID = audit.CustomerID
AND customer.CustomerID = 'C001'
WHERE customer.CustomerID = audit.CustomerID
AND customer.CustomerID = 'C001'
Output
AuditID
|
CustomerID
|
Date
|
Used
|
---|---|---|---|
1
|
C001
|
2008-08-01
| 100000 |
2
|
C001
|
2008-08-05
| 200000 |
3
|
C001
|
2008-08-10
| 300000 |
คำสั่ง SQL BETWEEN
SQL BETWEEN
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการระบุเงื่อนไขการเลือกข้อมูลในตาราง (Table) โดยทำการเลือกเงื่อนไขที่อยู่ระหว่างค่าเริ่มต้นและค่าสิ้นสุด
Database : MySQL,Microsoft Access,SQL Server,Oracle
Syntax
Table : customer
Sample1 การเลือกข้อมูลที่ Budget ที่มีค่าตั้งแต่ 1000000 - 3000000
Output
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการระบุเงื่อนไขการเลือกข้อมูลในตาราง (Table) โดยทำการเลือกเงื่อนไขที่อยู่ระหว่างค่าเริ่มต้นและค่าสิ้นสุด
Database : MySQL,Microsoft Access,SQL Server,Oracle
Syntax
SELECT Column1,Column2,Column3,... FROM [Table-Name] WHERE [Field] BETWEEN [Value-Start] AND [Value-End]
Table : customer
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
EN
| 2000000 | 800000 |
C003
| Jame Born | jame.born@thaicreate.com |
US
| 3000000 | 600000 |
C004
| Chalee Angel | chalee.angel@thaicreate.com |
US
| 4000000 | 100000 |
Sample1 การเลือกข้อมูลที่ Budget ที่มีค่าตั้งแต่ 1000000 - 3000000
SELECT * FROM customer WHERE Budget BETWEEN '1000000' AND '3000000'
Output
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
EN
| 2000000 | 800000 |
C003
| Jame Born | jame.smith@thaicreate.com |
US
| 3000000 | 600000 |
คำสั่ง SQL SUB SELECT QUERY
SQL SUB SELECT QUERY
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการระบุเงื่อนไขการเลือกข้อมูลในตาราง (Table) โดยใช้เลือกข้อมูลย่อยภายใน SELECT ย่อยอีกชั้นหนึ่งครับSUB SELECT QUERY เข้ามาช่วยในด้านความสะดวกและง่ายกว่าการ JOIN TABLE แต่ข้อเสียของ SUB SELECT คือ สามารถทำงานได้ช้ากว่า JOIN TABLE
Database : MySQL,Microsoft Access,SQL Server,Oracle
Syntax
Table : customer
Table : audit
Sample1 การเลือกข้อมูลตาราง customer ที่เชื่อมโยงกับตาราง audit ที่มีการใช้ยอดเงินในแต่ล่ะครั้งมากกว่า 400000
Output
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการระบุเงื่อนไขการเลือกข้อมูลในตาราง (Table) โดยใช้เลือกข้อมูลย่อยภายใน SELECT ย่อยอีกชั้นหนึ่งครับSUB SELECT QUERY เข้ามาช่วยในด้านความสะดวกและง่ายกว่าการ JOIN TABLE แต่ข้อเสียของ SUB SELECT คือ สามารถทำงานได้ช้ากว่า JOIN TABLE
Database : MySQL,Microsoft Access,SQL Server,Oracle
Syntax
SELECT Column1,Column2,Column3,... FROM [Table-Name] WHERE [Field] IN (SELECT ..... FROM ....)
Table : customer
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
EN
| 2000000 | 800000 |
C003
| Jame Born | jame.born@thaicreate.com |
US
| 3000000 | 600000 |
C004
| Chalee Angel | chalee.angel@thaicreate.com |
US
| 4000000 | 100000 |
Table : audit
AuditID
|
CustomerID
|
Date
|
Used
|
---|---|---|---|
1
|
C001
|
2008-07-01
| 100000 |
2
|
C001
|
2008-07-05
| 200000 |
3
|
C001
|
2008-07-10
| 300000 |
4
|
C002
|
2008-07-02
| 400000 |
5
|
C002
|
2008-07-07
| 100000 |
6
|
C002
|
2008-07-15
| 300000 |
7
|
C003
|
2008-07-20
| 400000 |
8
|
C003
|
2008-07-25
| 200000 |
9
|
C004
|
2008-07-04
| 100000 |
Sample1 การเลือกข้อมูลตาราง customer ที่เชื่อมโยงกับตาราง audit ที่มีการใช้ยอดเงินในแต่ล่ะครั้งมากกว่า 400000
SELECT * FROM customer WHERE CustomerID IN (SELECT CustomerID FROM audit WHERE Used >= '400000')
Output
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
EN
| 2000000 | 800000 |
C003
| Jame Born | jame.smith@thaicreate.com |
US
| 3000000 | 600000 |
คำสั่ง SQL OR AND
SQL OR AND
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการระบุเงื่อนไขการเลือกข้อมูลในตาราง (Table) การเชื่อมวลีสำหรับเงื่อนไขต่าง ๆ
Database : MySQL,Microsoft Access,SQL Server,Oracle
Syntax
Table : customer
Sample1 การเลือกข้อมูลที่ CountryCode = US และ Used = 100000
Output
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการระบุเงื่อนไขการเลือกข้อมูลในตาราง (Table) การเชื่อมวลีสำหรับเงื่อนไขต่าง ๆ
Database : MySQL,Microsoft Access,SQL Server,Oracle
Syntax
SELECT Column1,Column2,Column3,... FROM [Table-Name] WHERE [Field] = 'Value' [AND/OR] [Field] = 'Value'
Table : customer
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
EN
| 2000000 | 800000 |
C003
| Jame Born | jame.born@thaicreate.com |
US
| 3000000 | 600000 |
C004
| Chalee Angel | chalee.angel@thaicreate.com |
US
| 4000000 | 100000 |
Sample1 การเลือกข้อมูลที่ CountryCode = US และ Used = 100000
SELECT * FROM customer WHERE CountryCode = 'US' AND Used = '100000'
หรือ
SELECT * FROM customer WHERE CountryCode = 'TH' OR CountryCode = 'EN'
หรือ
SELECT * FROM customer WHERE CountryCode = 'TH' OR CountryCode = 'EN'
Output
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|
C004
| Chalee Angel | chalee.angel@thaicreate.com |
US
| 4000000 | 100000 |
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
EN
| 2000000 | 800000 |
คำสั่ง SQL WHERE
SQL WHERE
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการระบุเงื่อนไขการเลือกข้อมูลในตาราง (Table) คำสั่ง SQL WHERE สามารถระบุเงื่อนไขในการเลือกข้อมูลได้ 1 เงื่อนไข หรือมากกว่า 1 เงื่อนไข
Database : MySQL,Microsoft Access,SQL Server,Oracle
Syntax
Table : customer
Sample1 การเลือกข้อมูลโดยใช้ Operators = (เท่ากับ)
Output
Sample2 การเลือกข้อมูลโดยใช้ Operators != (ไม่เท่ากับ)
Output
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการระบุเงื่อนไขการเลือกข้อมูลในตาราง (Table) คำสั่ง SQL WHERE สามารถระบุเงื่อนไขในการเลือกข้อมูลได้ 1 เงื่อนไข หรือมากกว่า 1 เงื่อนไข
Database : MySQL,Microsoft Access,SQL Server,Oracle
Syntax
SELECT Column1, Column2, Column3,... FROM Table-Name WHERE [Field] = 'Value'
Table : customer
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
EN
| 2000000 | 800000 |
C003
| Jame Born | jame.born@thaicreate.com |
US
| 3000000 | 600000 |
C004
| Chalee Angel | chalee.angel@thaicreate.com |
US
| 4000000 | 100000 |
Sample1 การเลือกข้อมูลโดยใช้ Operators = (เท่ากับ)
SELECT * FROM customer WHERE CountryCode = 'US'
หรือ แบบ 2 เงื่อนไข ใช้ and เข้ามาเชื่อม วลี
SELECT * FROM customer WHERE CountryCode = 'US' and Budget = '4000000'
หรือ แบบ 2 เงื่อนไข ใช้ and เข้ามาเชื่อม วลี
SELECT * FROM customer WHERE CountryCode = 'US' and Budget = '4000000'
Output
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|
C003
| Jame Born | jame.smith@thaicreate.com |
US
| 3000000 | 600000 |
C004
| Chalee Angel | chalee.angel@thaicreate.com |
US
| 4000000 | 100000 |
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|
C004
| Chalee Angel | chalee.angel@thaicreate.com |
US
| 4000000 | 100000 |
Sample2 การเลือกข้อมูลโดยใช้ Operators != (ไม่เท่ากับ)
SELECT * FROM customer WHERE CountryCode != 'US'
หรือ แบบ 2 เงื่อนไข ใช้ and เข้ามาเชื่อม วลี
SELECT * FROM customer WHERE CountryCode != 'US' and CountryCode != 'EN'
หรือจะใช้ or
SELECT * FROM customer WHERE CountryCode != 'US' or Budget = '1000000'
หรือ แบบ 2 เงื่อนไข ใช้ and เข้ามาเชื่อม วลี
SELECT * FROM customer WHERE CountryCode != 'US' and CountryCode != 'EN'
หรือจะใช้ or
SELECT * FROM customer WHERE CountryCode != 'US' or Budget = '1000000'
Output
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
EN
| 2000000 | 800000 |
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
CustomerID
|
Name
|
Email
|
CountryCode
|
Budget
|
Used
|
---|---|---|---|---|---|
C001
| Win Weerachai | win.weerachai@thaicreate.com |
TH
| 1000000 | 600000 |
C002
| John Smith | john.smith@thaicreate.com |
EN
| 2000000 | 800000 |
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)